บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่4
EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคาร ที่25 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2563 เวลา 08:30-12:30
เนื้อหาที่เรียน
อาจารย์ได้มีการสนทนาพูดคุยกับนักศึกษาก่อนที่จะเข้าสู่บทเรียน
รูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
แรกเกิด-2ขวบใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ส่งไปยังสมอง สมองซึมซับ สภาพแวดล้อม การดูแล
2-4เป็นจุดเด่นในเรื่องของภาษา มีการคิดที่ตาเห็น ไม่เห็นคือไม่มี
4-7 สามารถที่จะบอกเป็นประโยคเช่น อยากไปเที่ยว หิวข้าว ขอขนมกิน เริ่มที่จะบอกได้แม้ว่าตาจะเห็น เริ่มใช้เหตุผล เรียกว่าขั้นอนุรักษ์
ธรรมชาติของเด็ก 3-5 ปี
ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้คำชม
ชอบเล่นแบบคู่ขนาน คือ การนำของเล่นมาเล่นข้างๆกับเพื่อนแต่ต่างคนต่างเล่น
สนใจนิทาน เรื่องราว
อยากรู้ อยากเห็น
ชอบถาม สงสัย
ร้องเพลงง่ายๆ แสดงท่าทาง
สาระสำคัญทางคณิตศาสตร์
จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ
ตัวเลข เลขฮินดูบารบิก,เลขไทย
จำนวนสองจำนวนเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันจะมีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า
การเรียงลำดับจำนวนอาจเรียงจากน้อยไปมาก
บอกลำดับที่ของสิ่งของต่างๆ เช่น ที่หนึ่ง ที่สอง
การรวมตัวเป็นการนับรวมจำนวนต่างๆ
อาจารย์ได้สอนการแต่งเพลงเกี่ยวกับการนับเลขสำหรับเด็กปฐมวัยและให้นศ.อัดคลิปส่งเป็นการบ้าน
คำศัพท์ภาษาอังฤษ
1. Straight line = เส้นตรง
2. Direction = ทิศทาง
3. Sensory motor = ประสาทสัมผัส
4. Brain = สมอง
5. Concrete = รูปธรรม
ประเมินอาจารย์ ตนเอง เพื่อน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์มีความตรงต่อเวลา สอนเข้าใจง่ายยกตัวอย่างที่สมารถทำให้เห็นภาพ
ประเมินตนเอง : มีความพร้อมในการเรียน มาก่อนเวลา และตั้งใจฟังอาจารย์คอยตอบคำถาม
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนตั้งใจฟังอาจารย์สอนเมื่อเข้าบทเรียนก็พร้อมเรียน ตั้งใจดี
เนื้อหาที่เรียน
อาจารย์ได้มีการสนทนาพูดคุยกับนักศึกษาก่อนที่จะเข้าสู่บทเรียน
รูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
2-4เป็นจุดเด่นในเรื่องของภาษา มีการคิดที่ตาเห็น ไม่เห็นคือไม่มี
4-7 สามารถที่จะบอกเป็นประโยคเช่น อยากไปเที่ยว หิวข้าว ขอขนมกิน เริ่มที่จะบอกได้แม้ว่าตาจะเห็น เริ่มใช้เหตุผล เรียกว่าขั้นอนุรักษ์
ธรรมชาติของเด็ก 3-5 ปี
ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้คำชม
ชอบเล่นแบบคู่ขนาน คือ การนำของเล่นมาเล่นข้างๆกับเพื่อนแต่ต่างคนต่างเล่น
สนใจนิทาน เรื่องราว
อยากรู้ อยากเห็น
ชอบถาม สงสัย
ร้องเพลงง่ายๆ แสดงท่าทาง
สาระสำคัญทางคณิตศาสตร์
จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ
ตัวเลข เลขฮินดูบารบิก,เลขไทย
จำนวนสองจำนวนเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันจะมีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า
การเรียงลำดับจำนวนอาจเรียงจากน้อยไปมาก
บอกลำดับที่ของสิ่งของต่างๆ เช่น ที่หนึ่ง ที่สอง
การรวมตัวเป็นการนับรวมจำนวนต่างๆ
อาจารย์ได้สอนการแต่งเพลงเกี่ยวกับการนับเลขสำหรับเด็กปฐมวัยและให้นศ.อัดคลิปส่งเป็นการบ้าน
คำศัพท์ภาษาอังฤษ
1. Straight line = เส้นตรง
2. Direction = ทิศทาง
3. Sensory motor = ประสาทสัมผัส
4. Brain = สมอง
5. Concrete = รูปธรรม
ประเมินอาจารย์ ตนเอง เพื่อน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์มีความตรงต่อเวลา สอนเข้าใจง่ายยกตัวอย่างที่สมารถทำให้เห็นภาพ
ประเมินตนเอง : มีความพร้อมในการเรียน มาก่อนเวลา และตั้งใจฟังอาจารย์คอยตอบคำถาม
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนตั้งใจฟังอาจารย์สอนเมื่อเข้าบทเรียนก็พร้อมเรียน ตั้งใจดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น